นายยูสซี เว็คโค ซาโลรานตา ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คอร์สแอร์ กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล กล่าวว่า “ ในทุกวันนี้ ขยะพลาสติกทุกประเภทที่ปรากฏอยู่
รอบตัวเรา ทั้งในน้ำ อากาศ ตลอดจนบรรจุภัณฑ์อาหาร เราไม่สามารถหลีกเหลี่ยงปั
ญหามลภาวะจากขยะพลาสติกได้ ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจส่งผลต่อสุ
ขภาพของตัวเราเองหรือสิ่งแวดล้
อมในธรรมชาติที่มีชีวิตทั้งสั
ตว์น้ำและสัตว์บกอีกด้วย เราในฐานะหน่วยงานภาคเอกชน ที่มุ่งเน้นการช่วยเหลือสั
งคมให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีในทุ
กๆมิติ โดยเฉพาะอย่างการช่วยลดปั
ญหาขยะพลาสติกจากทั่วโลกที่มนุ
ษย์ต่างสร้างขึ้นมาและไม่มี
การทำลายตามกระบวนการที่เหมาะสม นับว่าเป็นปัญหาที่ทั่วโลกต้
องประสบ คอร์สแอร์จึงให้ความสำคัญในส่
วนนี้พร้อมเดินหน้าสร้างภาคี
เครือข่ายกับหน่วยงานทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในการสนับสนุนพันธกิ
จของประเทศและของโลกเพื่อสร้
างโลกที่สะอาดและปลอดภัยต่อสุ
ขภาพ ให้ผู้คนได้ใช้ชีวิตอย่างมี
ความสุขกับอนาคตที่ดียิ่งๆขึ้นๆ ไป”
จากสถานการณ์โควิด-19 ก่อให้เกิดมลภาวะจากขยะพลาสติ
กที่ทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากคนทั่วโลกมีความจำเป็
นและความต้องการซื้อหน้
ากากอนามัยรวมถึงอุปกรณ์ในการดู
แลป้องกันสุขภาพของตนเอง ส่งผลถึงการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติ
ก และพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวแล้
วทิ้งในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เมื่อเร็ว ๆ นี้ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยรายงานว่
าสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ปริมาณขยะพลาสติกในกรุ
งเทพฯ เพิ่มขึ้นถึง 60% โดยอัตราการผลิตพลาสติกรายปียั
งคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และในประเทศไทยเองมีการสร้
างขยะพลาสติกปีละกว่า 2,000 ล้านกิโลกรัม มีการนำไปรีไซเคิลเพียงแค่ไม่ถึ
ง 10% ตลอดจนรายงานการผลิตขยะพลาสติ
กทั่วโลกมากกว่าถึง 370 ล้านเมตริกตันต่อปี ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า ภายในปี 2050 ขยะพลาสติกกว่า 12 พันล้านตันจะทับถมอยู่ในหลุ
มขยะฝังกลบและปนเปื้อนสู่สิ่
งแวดล้อมในธรรมชาติ
ดังนั้นเป้าหมายของ คอร์สแอร์ คือการเปลี่ยนขยะพลาสติกที่ถู
กทิ้งและไม่ถูกทำลายเพื่อย่
อยสลายเหล่านี้ให้กลับมาเป็นผลิ
ตภัณฑ์ที่มีประโยชน์บนแนวทางที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเราได้ร่วมมือมือกับองค์
กรหลายภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครั
ฐและเอกชน อาทิ ไมเนอร์ กรุ๊ป, เซ็นทารา กรุ๊ป, ชาเทรียม โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท, โรงเรียนนานาชาติ โชรส์เบอรี่, บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, บริษัท แอสเซทไวส์ จำกัด (มหาชน), แดรี่โฮม และอีกหลายแห่ง เพื่อ ร่วมกันขับเคลื่อนการแก้ไขปั
ญหาขยะพลาสติกที่ล้นเมืองและสร้
างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กั
บโลกใบนี้ได้มีความอุดมสมบูรณ์ ปลอดภัยต่อสุขภาพ และสร้างสรรค์มลภาวะที่ดีสู่
ความเป็นเมืองที่น่าอยู่ต่อไป
โดยการการเปลี่
ยนสภาพของขยะพลาสติกให้กลั
บไปเป็นน้ำมันในรูปแบบของเหลว เริ่มจากกระบวนการลำเลี
ยงขยะพลาสติกลงในเครื่องนวั
ตกรรมไพโรไลซิส (Pyrolysis Machine) ที่สามารถรองรับขยะพลาสติกได้ทุ
กประเภท ไม่ว่าจะเป็นถุงพลาสติก พลาสติกห่อหุ้ม และบรรจุภัณฑ์พลาสติก (ซึ่งพลาสติกกลุ่มนี้หลังจากถู
กใช้งานมักถูกทิ้งใส่หลุมฝังกลบ ทำให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้
อมทั้งบนบกและในท้องทะเล) หลังจากนั้น เครื่องจะให้ความร้อนต่
อขยะพลาสติกที่ถูกใส่ไปในเครื่
องเพื่อให้เกิดควันและก๊าซ โดยขั้นตอนนี้ไม่ใช่การเผาแต่
เป็นการใช้ความร้อนเพื่อย่
อยสลาย ทำให้ไม่เกิดไอพิษลอยสู่ชั้
นบรรยากาศ ก๊าซไวไฟที่ได้ในขั้นตอนนี้จะถู
กรวบรวมและนำไปใช้เพื่อสร้
างความร้อนในขั้
นตอนการแปรสภาพขยะพลาสติกต่อไป ส่วนควันที่เกิดขึ้นจะลอยผ่
านระบบกลั่นและเปลี่ยนเป็
นของเหลว ซึ่งพลังงานหรือน้ำมันชีวภาพถู
กสร้างขึ้นด้วยกระบวนการดังกล่
าว และยิ่งไปกว่านั้น น้ำมันชีวภาพขั้นสูงบางส่วนที่
ผลิตได้ยังหมุนเวียนนำกลับมาใช้
เป็นแหล่งพลังงานให้กับเครื่
องนวัตกรรมไพโรไลซิสได้อีกครั้ง ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้น้ำมันเชื้
อเพลิงจากภายนอก โดยในอนาคต คอร์สแอร์จะมีการผลิตไฟฟ้
าจากความร้อนของเครื่องจักรเหล่
านี้ในตัวเอง เพื่อสร้างระบบนิเวศพลังงานที่
เพียงพอสำหรับป้อนภายในโรงงาน
โรงงานรีไซเคิลขยะพลาสติกให้
กลายเป็นน้ำมัน ของคอร์สแอร์ มีเนื้อที่ 6,400 ตารางเมตร ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ ใช้เทคโนโลยีไพโรไลซิสที่
สามารถเปลี่ยนขยะพลาสติกที่สร้
างผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมให้
กลายเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมันกำมะถั
นต่ำหรือนำมันชีวภาพ ปัจจุบันมีกำลังการผลิตราว 200,000 ลิตรต่อเดือน โดยโรงงานจะขยายเนื้อที่เพิ่มอี
ก 10,000 ตารางเมตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการผลิ
ตให้ได้มากกว่า 1,000,000 ลิตรต่อเดือนในปี พ.ศ 2565
“ถึงเวลาแล้วที่เราต้องยืนหยั
ดและร่วมแก้ไขปั
ญหามลภาวะจากขยะพลาสติก เราทุกคนสามารถสร้างสิ่งแวดล้
อมที่ดีได้ด้วยสองมือของเรา รวมถึงการใช้นวัตกรรมที่เรามี
อยู่ ด้วยเหตุนี้ คอร์สแอร์จึงต้องเดินหน้า สร้างเครือข่ายทางธุรกิจ ทั้งพันธมิตรทางการเงิน และหน่วยงานทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีวิสัยทัศน์ภารกิจในการขั
บเคลื่อนสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างเมืองให้น่าอยู่ เพื่อทุกชีวิตบนโลกใบนี้” นายยูสซี เว็คโค ซาโลรานตา กล่าวทิ้งท้าย